บันทึกอนุทินครั้งที่
14
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วันเสาร์ ที่ 21 พฤศจิกายน 2557
กลุ่มเรียน 104 เวลา 13.10-16.40 น.
***
มีการรวบรวมสื่อต่าง ๆ ที่นักศึกษาได้ทำ และแยกเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้
ลม
เสียง
แรงโน้มถ่วง
แรงน้ำ
****เพื่อนนำเสนองานวิจัย
และโทรทัศน์ครู
งานงิจัย
เรื่องที่
1 ผลการจัดประสบการณ์โดยเน้นทักษะทางวิทยาศาสตร์
ชั้นอนุลาปีที่2
ความมุ่งหมายของวิจัย
1.เพื่อเปรียบเทียบการสังเกตของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณเน้นวิทยาศาสตร์สำหรับเด้กปฐมวัย
2.เพื่อเปรียบเทียบการสังเกตของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ก่อนและหลังการทำกิจกรรม
3.เพื่อเปรียบเทียบทักษะการสังเกตของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์หน่วยวิทยาศาสตร์สำหรับเด็ฏปฐมวัย
เรื่องที่
2 การพัฒนาชุดการสอนหน่วยวิทยาศาสร์ ชั้นอนุบาล2
ความมุ่งหมายของวิจัย
1.เพื่อเปรียบเทียบคะแนนก่อน
และหลังเรียน
2.เพื่อพัฒนาชุดการสอนแบบศูนย์การเรียนรู้ชั้นอนุบาล
2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์
เรื่องที่3
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
ความมุ่งหมายของวิจัย
1.
เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยก่อน และหลังในการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
2.เพื่อสังเกตความสามรถของเด็ฏปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
เรื่องที่
4
การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยด้วยการจัดกิจกรรมการทำเครื่องดื่มน้ำสมุนไพร
ความมุ่งหมายของการวิจัย
1.เพื่อศึกษาระดับทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
2.เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานการทำงานก่อนและหลังการเรียนทดลองวิทยาศาสตร์
3.เพื่อสังเกตการทำกิจกรรมของเด็กปฐมวัยที่จัดให้
เรื่องที่
5
ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน
ความมุ่งหมายของวิจัย
1.เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงทักษะพื้นฐานวิทยาศาสตร์ของเด็ฏปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการทดลองหลัง
การฟังนิทานก่อนและหลังการทดลอง
2.เพื่อเปรีบยเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็ฏปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมก่อนการฟังนิทานและหลังการฟังนิทาน
เรื่องที่1
สอนเด็กอย่างไรให้มีจิตวิทยาศาสตร์
การสอนโดยเน้นให้เด็กได้เรียนรู้ด้วยตนเองจาการ
สังแนก การเปรียบเทียบ โดยกระบวนการเรียนรู้นั้นเด็กเรียนรู้ด้วยตนเอง
ซึ่งจะทำให้เด็กสามารถจำได้ในระยะยาว และทำให้เด็กสนใจวิทยาศาสตร์มากยิ่งขึ้น
เรื่องที่
2
จุดประกายนักวิทยาศาสตร์น้อย
เป็นการเรียนวิทยาศาสตร์ สมัยใหม่
ที่ทันต่อโลก และเทคโนโลยียุคใหม่ เพราะทำให้การเรียน ไม่น่าเบื่อ
สนุกสนาและมีความสนุก พร้อมทั้งได้เรียนรู้และสร้างผลงานใหม่ได้ด้วยตนเอง
กิจกรรม COOKING ทำ "WAFFLES"
อาจารย์แนะนำอุปกรณ์และวิธืการทำ
อาจารย์ให้นักศึกษาผสมแป้งด้วยตนเอง
หน้าตาแป้งที่ผสมเครื่องปรุงเสร็จแล้ว
หน้าตา Waffles น่าทานมาก
ประเมินผล
ตนเอง
ในการเรียนครั้งนี้รู้สึกตื่นเต้นมากเพราะมีการทำ Cooking อีกแล้ว นั้นก็คือ การทำ Waffles ซึ้งเป็นการทำครั้งแรกของดิฉัน รู้จักวิ๊การทำจากอาจารย์เป็นครั้งแรกด้วย และจะนำเอาวิธีการทำ Waffles ครั้งนี้ไปประยุกต์ในการสอนเด็กและทำทานเองในอนาคตได้
เพื่อน
เพื่อนๆ มีความหร้อมในการเรียนครั้งนี้มาก เพราะส่วนมากเนื้อหาที่เรียนในวันนี้ก็จะมีแต่นำเสนอวิจัย กับ โทรทัศน์ครู และเพื่อนร่วมมือกันทำ waffles เป็นอย่างดี แต่อาจจะมีเพื่อนบางกลุ่มที่ไม่มีความพร้อมในการนำเสนอจึงต้องเอาไปนำเสนอต่อในการเรียนครั้งต่อไป
อาจารย์
อาจารย์มีความพร้อมในการสอนครั้งนี้ อาจารย์ได้นำอุปกรณ์ในการทำ waffles มาให้นักศึกษษและอาจารย์มีเทคนิคในการสอนทำ waffle เทคนิคในการผสมแป้ง โดยไม่ควรเหลวเกินไป เพราะเวลาใส่เครื่องปิ้งอาจจะทำให้เเป้งนั้นไหลเลอะเทอะได้ หลังจากเสร็จกรรมอาจารย์ก็ให้นักศึกษารับผิดชอบอุปกรณ์ของตัวเอง โดยการเก็บให้เรียบร้อย และทำความสะอาด
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น